อ.สุเทพ พงษ์พิทักษ์
ตามที่อธิบดีกรมสรรพากร อาศัยอำนาจตามมาตรา 3 แห่งประมวลรัษฎากร โดยอนุมัติรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลัง ได้ออกประกาศอธิบดีกรมสรรพากร เกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี เรื่อง กำหนด ระเบียบเกี่ยวกับการตรวจสอบและรับรองบัญชี ลงวันที่ 12 มีนาคม 2544 กำหนดให้บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลทุกขนาดกิจการ ต้องมีการตรวจสอบและรับรองบัญชีเพื่อประโยชน์แห่งการเสียภาษีอากรตามประมวล รัษฎากร สำหรับรอบระยะเวลาบัญชี ที่สิ้นสุดในหรือหลังวันที่ 31 ธันวาคม 2545
1.“ผู้สอบบัญชีภาษีอากร” (TA) ที่ขอขึ้นทะเบียนและได้รับใบอนุญาตจากอธิบดีกรมสรรพากร ให้เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีเฉพาะห้างหุ้นส่วนจดทะเบียนที่ จัดตั้งขึ้นตามกฎหมายไทย ที่มีทุนจดทะเบียน ชำระแล้วไม่เกิน 5,000,000 บาท และ มีรายได้ในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท และมีทรัพย์สินรวมในรอบระยะเวลาบัญชีปีใดไม่เกิน 30,000,000 บาท หรือห้างหุ้นส่วนขนาดเล็ก
2.“ผู้สอบบัญชีรับอนุญาต” (CPA) เป็นผู้ตรวจสอบและรับรองบัญชีสำหรับบริษัทและห้างหุ้นส่วนนิติบุคคล ทั้งที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายไทยและที่ตั้งขึ้นตามกฎหมายของต่างประเทศ ทุกขนาดกิจการ รวมทั้งกิจการร่วมค้า
หน้าที่สำคัญในการตรวจสอบและรับรองบัญชีที่สำคัญก็คือ ตรวจสอบและรับรองว่า บริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลมีการจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามหลักการบัญชี ที่รับรองทั่วไปหรือมาตรฐานการบัญชี หรือไม่ อันเป็นหลักการทั่วไปตามกฎหมายว่าด้วยการบัญชี เนื่องเพราะ กรมสรรพากรมีแนวคิดพื้นฐานว่า หากบริษัทหรือห้างหุ้นส่วนนิติบุคคลใดจัดทำบัญชีให้เป็นไปตามมาตรฐานการ บัญชีแล้ว ก็ชอบที่จะเสียภาษีอากรให้ถูกต้องเช่นเดียวกัน
แต่ความจริงก็เป็นความจริง ทั่วโลกต่างรับรู้รับทราบว่า การจัดทำบัญชีตามหลักการบัญชีที่รับรองทั่วไปนั้น หาได้สะท้อนว่า กิจการนั้นเป็นกิจการที่ซื่อสัตย์ โปร่งใส ตรวจสอบได้
ในประเทศไทย การตรวจสอบและรับรองบัญชีว่าได้จัดทำให้เป็นไปตามมาตรฐานการบัญชี ก็ไม่เพียงพอที่การันตีว่า กิจการนั้นมีความสมัครใจในการเสียภาษีอากร ตามกฎหมายประมวลรัษฎากรจึงกำหนดให้กรมสรรพากรต้องมีเจ้าพนักงานสรรพากรที่ทำ หน้าที่ตรวจสอบทางภาษีอากร เพื่ออำนวยให้เกิดความเป็นธรรม แต่ดูเหมือนจะเป็นไม้เบื่อไม้เมาตลอดมา
จึงเกิดประเด็นว่า แล้วใครเล่าจะเข้ามาทำหน้าที่ตรวจสอบทางภาษีอากรของกิจการก่อนที่เจ้าพนักงานสรรพากรจะเข้าทำการตรวจสอบ
สำนักงานสอบบัญชี พี แอนด์ อี,สำนักงานบัญชี พี.เอ.แอล.,คณะบุคคลที่ปรึกษา พี.เอ.ที.,#สำนักงานบัญชี,#ผู้สอบบัญชี,#ทำบัญชี,#สอบบัญชี,#สำนักงานสอบบัญชี,#ผู้สอบบัญชีภาษีอากร
บทความ
-
.......... บทความ 108 ..........
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (1)
-
สถิติการจ่ายภาษีตามภาค
-
สถิติการจ่ายภาษีรายจังหวัด
-
KPI เท่าไหร่ถึงพอ (2)
-
KPI เท่าไหร่ถึงพอ (1)
-
คลิปนี้ ชอบมาก
-
ธรรมบรรยาย ชุด จริยธรรมกับบัณฑิต - พุทธทาสภิกขุ
-
จรรยาบรรณ ของผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
-
คุณสมบัตินักบัญชีที่ดี
-
ธุรกิจปั่นป่วน เจอปัญหาขาดแคลนผู้สอบบัญชี จริงหรือ(1)
-
พรก.ยกเว้นการปฏิบัติการเกี่ยวกับภาษีอากร 2558 ยื่นดีไหม
-
ค่าทำบัญชีปีละ 2-3 หมื่นบาท คุณไปอยู่ที่ไหนมา
-
การสุ่มตัวอย่างทางสถิติในการสอบบัญชี
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (6)
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (5)
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (4)
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (3)
-
สำนักงานบัญชีในฝัน (2)
-
บัญญติ 10 ประการที่ต้อง คำนึงในการวางระบบบัญชี และการควบคุมภายใน (2)
-
เจ้าของกิจการควรไปพบ สรรพากรเองหรือไม่
-
วิธีการเลือกสำนักงานบัญชี
-
องค์กรในมุมมองของนักบัญชี
-
อะไรคือข้อมูลทางบัญชี ?
-
บัญญัติ 10 ประการที่ต้อง คำนึงในการวางระบบบัญชี และการควบคุม ภายใน (1)
-
ราชกิจจาฯ ประกาศมาตรการคง VAT 7% ออกไปอีก 1 ปี ถึงวันที่ 30 ก.ย.61 ..... คั่นเวลา
-
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ธรรมนูญครอบครัว คนละเรื่องเดียวกัน (๓)
-
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ธรรมนูญครอบครัว คนละเรื่องเดียวกัน (2)
-
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ธรรมนูญครอบครัว คนละเรื่องเดียวกัน
-
ภาษีที่ดินและสิ่งปลูกสร้าง ธรรมนูญครอบครัว คนละเรื่องเดียวกัน (๔)
-